Page 25 - คู่มือการปฏิบัติงาน
P. 25
๑๕
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมและรักษาสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ที่ ๔.๑ ระบบและกลไกการอนุรักษ์พัฒนา การท านุบ ารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
และสิ่งแวดล้อมตามบริบทที่เปลี่ยนแปลงของประเทศ
ค่าเป้าหมาย
ดัชนีชี้วัด หน่วยนับ
ปี ๖๑ ปี ๖๒ ปี ๖๓ ปี ๖๔
๔.๑.๑ จ านวนโครงการบูรณาการด้านการท านุบ ารุง ศาสนา ศิลปะ โครงการ ๖ ๖ ๖ ๖
วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ร่วมกับสังคม ชุมชน องค์กร
๔.๑.๒ จ านวนองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ พัฒนาการท านุบ ารุง ผลงาน ๖ ๖ ๑๐ ๑๐
ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ที่เผยแพร่บนสื่อ
เทคโนโลยี
ตาราง ๓.๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เป้าประสงค์ที่ ๔.๑ ดัชนีชี้วัด และค่าเป้าหมาย
๓.๑.๒ เกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗
การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมถือเป็นพนธกิจส าคัญประการหนึ่งของมหาวิทยาลัย
ั
ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงต้องมีระบบและกลไกการด าเนินงานด้านนี้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และคุณภาพ โดยอาจมีจุดเน้นเฉพาะที่แตกต่างกันตามปรัชญา และธรรมชาติของแต่ละมหาวิทยาลัย
และมีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่นๆ โดยเฉพาะการผลิตบัณฑิต รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมที่ฟื้นฟู อนุรักษ์
ั
สืบสาน พฒนา เผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นรากฐานการพฒนาองค์
ั
ความรู้ที่ดีขึ้น
มหาวิทยาลัยต้องมีนโยบาย แผนงาน โครงสร้าง และการบริหารจัดการงานท านุบ ารุง
ู
ื้
ศิลปะ และวัฒนธรรมทั้งการอนุรักษ์ ฟนฟ สืบสาน เผยแพร่วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามจุดเน้น
ของมหาวิทยาลัยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน ดังนี้
๑. ก าหนดผู้รับผิดชอบในการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
๒. จัดท าแผนด้านท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม และก าหนดตัวบ่งชี้ความส าเร็จ
ื่
ตามวัตถุประสงค์ของแผน รวมทั้งจัดสรรงบประมาณเพอให้สามารถด าเนินการ
ได้ตามแผน
๓. ก ากับติดตามให้มีการด าเนินงานตามแผนด้านท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
๔. ประเมินความส าเร็จตามตัวบ่งชี้ที่วัดความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน
ด้านท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
๕. น าผลการประเมินปปรับปรุงแผนหรือกิจกรรมด้านท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
๖. เผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน
๗. ก าหนดหรือสร้างมาตรฐานด้านศิลปะและวัฒนธรรมซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ