โครงการคลอโรฟิลล์จากผักตบชวา โดย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

          ผักตกชวาเป็นวัชพืชน้ำที่ก่อปัญญาในแม่น้ำก่อให้เกิดน้ำเน่าเสีย กีดขวางการไหลของน้ำรวมไปถึงทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน ทั้งนี้ผักตบชวาเป็นพืชน้ำมีลักษณะใบเดี่ยว ภายในมีรูพรุนคล้ายฟองน้ำมีสีเขียวตลอดทั้งลำต้นซึ่งสีเขียวของผักตลชวาเป็นพืชน้ำซึ่งมีคลอโรฟิลล์เป็นส่วนประกอบอยู่จึงทำให้ ผศ.ดร.ธนภพ โสตรโยมและทีมวิจัยคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เกิดแนวคิดในการนำประโยชน์จากผักตบชวามาทำเป็นคลอโรฟิลล์สกัดพร้อมชง เพื่อเป็นตัวเลือกของผู้บริโภคที่มีความสนใจในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและใช้ประโยชน์จากผักตกชวาโดยการเพิ่มมูลค่าวัชพืชไร้ประโยชน์ให้หลากหลาย ปัจจุบันสามารถพบเห็นคลอโรฟิลล์ทั้งชนิดน้ำและผงออกมาจำหน่ายในท้องตลาดมากมาย และได้รับความนิยมจากผู้บริโภค เพราะร่างกายคนเราสามารถนำเอาสารคลอโรฟิลล์ไปเป็นสารตั้งต้นในการสร้างเม็ดเลือดเมื่อร่างกายต้องการโดยเฉพาะในภาวะที่เกิดความบกพร่องในการสร้างเม็ดเลือดแดง เนื่องจากขาดสารอาหาร เช่น ภาวะโลหิตจาง แต่คลอโรฟิลล์สก็อตที่วางจำหน่ายในท้องตลาดบางครั้งผู้บริโภคไม่อาจรู้ได้ว่าผลิตภัณฑ์นั้นสกัดมาจากพืชชนิดใดทำให้บางครั้งความน่าเชื่อถือในตัวผลิตภัณฑ์ลดน้อยลง จากการศึกษาคลอโรฟิลล์สก็อตพร้อมชงจากผักตบชวาโดยได้วิเคราะห์สมบัติทางเคมีของปริมาณคอลลาที่สกัดได้ซึ่งใช้เอทิลแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายการศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการอบสารสกัดการวิเคราะห์คุณภาพทางประสาทสัมผัสการวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพการศึกษาปริมาณน้ำตาลที่ผสมรวมถึงสารตกค้างที่อาจเป็นอันตราย โดยขั้นตอนการผลิตคลอโรฟิลล์ สก็อตพร้อมส่งจากผักตบชวาด้วยคัดเลือกใบผักตบชวาออกจากก้านนำมาล้างด้วยน้ำสะอาดหั่นเป็นชิ้นเล็กๆและบดให้ละเอียด แล้วจึงนำมาแช่เอทิลแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน 1:1 เป็นเวลา 7 ชั่วโมง แล้วจึงกรองเอากากออกและนำส่วนที่ได้เข้าเครื่องละเหยศูนย์อากาศนำสารสกัดของเหลวข้นที่ได้กรองด้วยกระดาษกรองแล้วนำมาแถลงบนถาด และนำไปอบด้วยเครื่องอบลมร้อน จากนั้นนำไปบดเป็นผงให้ละเอียดนำผงที่ได้มาละลายน้ำนำไปตั้งไฟและนำไปทำให้เข้มข้นโดยผสมกับน้ำตาลทรายขาวเมื่อเริ่มตกผลึกจึงเติมมอลโตเดกช์ตริน เพื่อป้องกันการก่อเป็นก้อนจากนั้นนำมาบดเป็นผงและบรรจุในถุงอะลูมิเนียมฟอยด์

          จากการทดลอง พบว่า ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้เอทิลแอลกอฮอล์เป็นตัวทำลายในการสกัดคือ 5 ชั่วโมง จะได้ปริมาณคลอโรฟิลล์สีแดง-สีเขียว (a)=0.56 0.54และคลอโรฟิลล์สีเหลือง-สีน้ำเงิน(b) =0.82 0.64 ส่วนการศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสที่มีผลต่ออุณภูมิในการอบแห้ง 3 ระดับ คือ 70 องศาเซลเซียส พบว่า อุณหภูมิที่ 60 ผู้ทดสอบซิมให้การยอมรับมากที่สุดในทุกๆด้าน ส่วนการวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพ ได้แก่ค่าความสว่าง จาก 0-100 ค่าสีดำ เขียว (l*)=74.402.80 ค่าสีแดง (a*)=1.030.32และค่าสีเหลือง (b*)23.911.01 ค่าแสดงระดับพลังงานของน้ำ (water Activity) aw =0.420.05และค่าความชื้น =3.990.42 และไม่พบที่เป็นอัตราต่อผู้บริโภค ส่วนการศึกษาปริมาณน้ำตาลที่ใส่ลงคลอฟิลล์สลัดพร้อมชง พบว่าสูตรที่มีปริมาณน้ำตาลทรายต่อคอโรฟิลล์สก็อตผู้ทดสอบชิมให้คะแนนความชอบในด้านรสชาติที่มีปริมาณน้ำตาลทรายร้อยละ 20 มากที่สุด

        ในอนาคตผมมองว่าจะมีผู้วิจัยนำผลิตภัณฑ์คอลโรฟิลล์สก็อตพร้อมชงจากผักตบชวาไปต่อยอด เป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆรวมถึงนำผลิตภัณฑ์ไปวิเคราะห์หาปริมาณสารอาหารอื่นๆอีกซึ่งเป็นการต่อยอดในการเพิ่มมูลค่าวัชพืชไร้ค่าเหลือทิ้งที่มีมากมายในประเทศไทยและสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขกับภาพใหม่ที่หลากหลายเพื่อเป็นตัวเลือกในการบริโภคให้กับประชาชนที่มองหาผลิตภัณฑ์สำหรับสุขภาพที่หลากหลายต่อไป

ชื่อเจ้าของผลงาน      นางสาวกมลขวัญ อินสุชาติ และนางสาวสุชัญญาโพธิ์ศรี
อาจารย์ที่ปรึกษา        ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนภพ โสตรโยม โทร.089 662 9666
                                      นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
หน่วยงาน                    คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

 

สนใจข้อมูลโครงการอื่นๆเพิ่มเติม คลิ๊กที่นี่