Page 11 - คู่มือการปฏิบัติงาน
P. 11

๒


                  ๑.๒ วัตถุประสงค์

                         ๑. เพื่อให้ผู้ปฎิบัติงานสามารถปฎิบัติงานแทนกันได้

                         ๒. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน


                  ๑.๓ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

                         ๑. ผู้ปฎิบัติงานสามารถปฎิบัติงานแทนกันได้
                         ๒. การปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน


                  ๑.๔ ขอบเขตของคู่มือ

                         คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการจัดโครงการวันส าคัญ (สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์)

                  ฉบับนี้มีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการจัดโครงการและกิจกรรมท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมตั้งแต่
                  การประชุมวางแผน การด าเนินงานเอกสารที่เกี่ยวข้อง การจัดกิจกรรม และการรายงานผลการด าเนินงาน

                    ื่
                  เพอเสนอต่อมหาวิทยาลัยเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ ส าหรับผู้ปฏิบัติงานด้านศิลปววัฒนธรรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง
                  ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานการจัดท าโครงการวันส าคัญ


                  ๑.๕ ค ำจ ำกัดควำมเบื้องต้น

                                 คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการจัดโครงการวันส าคัญ (สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์)
                  ได้ก าหนดค าจ ากัดความเบื้องต้นที่ใช้ในคู่มอการปฏิบัติงาน ดังนี้
                                                     ื
                                 ท ำนุ หมายถึง บ ารุง, อุดหนุน (แผลงมาจาก ทะนุ)

                                 บ ำรุง หมายถึง ท าให้งอกงาม, ท าให้เจริญ
                                 ศิลปะ หมายถึง ศิลปะเป็นกิจการที่มนุษย์เป็นผู้สร้างสรรค์ แสดงออกจากความรู้สึกนึก

                  คิด และอารมณ์จากมโนภาพที่ได้จากความจริงหรือจินตนาการที่คิดฝันขึ้น โดยใช้ศิลปะเป็นสื่อกลางให้ผู้อน
                                                                                                        ื่
                                  ุ
                  สามารถเข้าใจในอดมการณ์นั้น งานศิลปะที่มีคุณค่าจึงสร้างสรรค์ขึ้นจากการแก้ปัญหาที่ต้องใช้ปัญญาอน
                                                                                                        ั
                  สูงส่ง จนมีความเชื่อกันว่ามนุษย์เท่านั้น เป็นผู้มีสติปัญญา จนถึงขั้นที่สามารถแก้ปัญหาสร้างสรรค์งาน
                  ศิลปะได้ ทั้งนี้เป็นเพราะว่ามนุษย์สามารถปรับปรุงเพอแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ เช่น การใช้วัสดุและ
                                                                 ื่
                  เครื่องมือ การสร้างสรรค์ให้มีคุณค่าทางความงาม เช่น การก่อสร้างที่พักอาศัย การก่อสร้างโบราณวัตถุและ
                  โบราณสถาน

                                  ั
                                 วฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ท าให้เจริญงอกงามแก่หมู่คณะ, วิถีชีวิตของหมู่คณะหรือ
                  ลักษณะที่ แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติและ
                  ศีลธรรมอนดีของประชาชนหรือพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้นด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน
                           ั
                  และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน

                                 กำรท ำนุบ ำรุงศิลปวัฒนธรรม หมายถึง การมีจิตส านึก การเห็นคุณค่าและการมีส่วนร่วม
                  ในการอนุรักษ์และพฒนาศิลปวัฒนธรรมที่ดีงามของท้องถิ่นและประเทศ โดยเป็นทั้งผู้ประพฤติปฏิบัติ
                                    ั
                  และชี้น าให้ผู้อื่นปฏิบัติ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16